ดม

Hello, you have come here looking for the meaning of the word ดม. In DICTIOUS you will not only get to know all the dictionary meanings for the word ดม, but we will also tell you about its etymology, its characteristics and you will know how to say ดม in singular and plural. Everything you need to know about the word ดม you have here. The definition of the word ดม will help you to be more precise and correct when speaking or writing your texts. Knowing the definition ofดม, as well as those of other words, enriches your vocabulary and provides you with more and better linguistic resources.
See also: ดื่ม

Thai

Pronunciation

Orthographic/Phonemicดม
ɗ m
RomanizationPaiboondom
Royal Institutedom
(standard) IPA(key)/dom˧/(R)

Etymology 1

From Proto-Tai *ɗɤmᴬ. Cognate with Lao ດົມ (dom), ᦡᦳᧄ (ḋum), Shan ၼူမ် (nǔum), Ahom 𑜃𑜤𑜉𑜫 (num).

Verb

ดม (dom) (abstract noun การดม)

  1. to smell; to sniff.
Derived terms

Etymology 2

Possibly from Old Khmer taṃ (to beat; to pound), thus cognate with Modern Khmer ដំ (dɑm).[1][2][3]

Alternative forms

Verb

ดม (dom) (abstract noun การดม)

  1. (archaic) to beat; to hit; to strike; to pound.[1][2][3][4]
References
  1. 1.0 1.1 ราชบัณฑิตยสถาน (2013) พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยสุโขทัย ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หลักที่ 1 (in Thai), 3rd edition, Bangkok: ราชบัณฑิตยสถาน, →ISBN, page 41:ดํ (ดม) ก. ตี ในความว่า "ดมบงคมกลอง" (๒/๑๘). (คำว่า "กลอง" ในที่นี้เคยอ่านว่า "กลอย" ซึ่งแปลว่า ร่วม เพราะตัวจารึกไม่ชัด ถ้าเป็นเช่นนั้น ดมบงคมกลอย ก็หมายถึง ตีประโคมร่วมกัน, เทียบภาษาเขมรโบราณ ตํ, ภาษาเขมร ฎํ แปลว่า ตอก, ทุบ).
  2. 2.0 2.1 พงศ์ศรีเพียร, วินัย (2009) ๑๐๐ เอกสารสำคัญ: สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ ๑ (in Thai), Bangkok: ศักดิโสภาการพิมพ์, →ISBN, page 23:[ดํบงคํกลอง คือ] ดํบงดํกลอง คำว่า ดํบง มาจากคำเขมรว่า ฎํบง อ่านว่า ด็อมบอง แปลว่า ไม้ตะบอง ในที่นี้หมายถึง ไม้ขนาดใหญ่ที่ใช้ตี คำว่า ดำ ใน ดำกลอง มาจากคำเขมรว่า ฎํ (ด็อม) แปลว่า ทุบ ในที่นี้น่าจะหมายถึง ตี หรือรัว ดำกลอง หมายถึง ตีกลอง ความทั้งหมด คือ เสียงไม้ตีรัวกลอง
  3. 3.0 3.1 วงษ์เทศ, สุจิตต์ (1983) สุโขทัยไม่ใช่ราชธานีแห่งแรกของไทย (in Thai), Bangkok: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์, →ISBN, page 186:
    ดํบงคํกลอง (ย) หมายถึง ตีประโคมกลอง. (พิฑูร [มลิวัลย์]) บง แปลว่า ตี อาจเป็นสำนวนว่า ลั่น เช่น ลั่นฆ้อง ได้ทราบจากผู้มีอายุมากในจังหวัดสุรินทร์ว่า ก่อนนี้มีคำว่า คำบงคำกลอย คำบง แปลว่า คำที่กล่าวขึ้นก่อน คำกลอย คือ คำที่กล่าวทีหลัง ในการพิธีมีคนกล่าวคำบง เช่น โห่ และมีผู้ขานคำกลอย คือ ฮิ้ว คำนี้อาจเป็นสำนวนโบราณว่า คำไพเราะ ลั่นวาจาไพเราะ. (ประเสริฐ [ณ นคร]) คำ กลอย นี้ ในจารึกปรากฏว่า ตัว ย เป็นตัวตกเติมเข้ามาทีหลัง ดูไม่ออกว่า เป็นตัว ย หรือ ง แน่ ถ้าเป็น ย กลอย แปลว่า ร่วม ความหมายใช้ได้ในที่นี้ ถ้าเป็นตัว ง กลอง ความก็ใช้ได้เหมือนกัน พิจารณาดูจารึกแล้ว เป็นตัว ง แน่. (ทองสืบ [ศุภะมารค]) ดง ภาษาเขมรแปลว่า ตี บงคํ คล้ายคำ ปฺรคํ ในภาษาเขมร แปลว่า ประโคม.
  4. ^ วีระประจักษ์, ก่องแก้ว, et al, editors (1999), ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๓ (in Thai), Bangkok: กรมศิลปากร, กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์, →ISBN, page 27:ดมบงคมกลอง หมายถึง ตีประโคมกลอง บง แปลว่า ตี หรืออาจจะเป็นสำนวนโบราณ หมายถึง คำไพเราะ หรือลั่นวาจาไพเราะ มีคำบอกเล่าจากจังหวัดในภาคอีสาน เช่น จังหวัดสุรินทร์ ว่า มีสำนวน ดำบงดำกลอย คือ คำที่กล่าวขึ้นก่อนและกล่าวทีหลังในพิธีการบางอย่าง