Hello, you have come here looking for the meaning of the word
เผือ. In DICTIOUS you will not only get to know all the dictionary meanings for the word
เผือ, but we will also tell you about its etymology, its characteristics and you will know how to say
เผือ in singular and plural. Everything you need to know about the word
เผือ you have here. The definition of the word
เผือ will help you to be more precise and correct when speaking or writing your texts. Knowing the definition of
เผือ, as well as those of other words, enriches your vocabulary and provides you with more and better linguistic resources.
Thai
Etymology
From Proto-Tai *pʰɯa.
Pronunciation
Pronoun
เผือ • (pʉ̌ʉa)
- (archaic) an exclusive plural first person pronoun:[1][2][3] we.
1292/93, พ่อขุนรามคำแหง, “จารึกพ่อขุนรามคำแหง (ด้านที่ ๑)”, in ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๓, Bangkok: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, published 1999, →ISBN, page 8:
- พ่อกูชื่อสรีอีนทราทิตย แม่กูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง ตูพี่น้องท้องเดียวห้าคน ผู้ชายสาม ผู้หญิงโสง พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมแต่ยังเล็ก
- pɔ̂ɔ guu chʉ̂ʉ sǐi in-traa-tít · mɛ̂ɛ guu chʉ̂ʉ naang sʉ̌ʉang · pîi guu chʉ̂ʉ baan mʉʉang · dtuu pîi-nɔ́ɔng tɔ́ɔng diao hâa kon · pûu-chaai sǎam · pûu-yǐng sǒong · pîi pʉ̌ʉa pûu âai dtaai jàak pʉ̌ʉa dtiiam-dtɛ̀ɛ yang lék
- My father is called Si Inthrathit. My mother is called Nang Sueang. My elder brother is called Ban Mueang. We, five brothers and sisters from the same womb, three men two women. Our elder brother, the eldest one, departed from us since still young.
See also
Archaic Thai personal pronouns
References
- ^ วงษ์เทศ, สุจิตต์, editor (1983), สุโขทัยไม่ใช่ราชธานีแห่งแรกของไทย (in Thai), Bangkok: มติชน, →ISBN, page 174: “เผือ แปลว่า เรา (เป็นพหูพจน์). พิฑูร [มลิวัลย์:] คำว่า เผือ ทางอิสานมีใช้แต่ในวรรณคดี หมายความเป็นทวิพจน์ คือ เรา (สองคน) ข้า (สองคน) เช่นเดียวกับคำ เขือ ซึ่งแปลว่า ท่าน (ทั้งสอง) เธอ (ทั้งสอง).”
- ^ ราชบัณฑิตยสถาน (2013) พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยสุโขทัย ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หลักที่ ๑ (in Thai), 3rd edition, Bangkok: ราชบัณฑิตยสถาน, →ISBN, page 49: “เผืออ (เผือ) ส. สรรพนามบุรุษที่ ๑ ทวิพจน์ หมายถึง เราทั้งสอง ไม่รวมผู้ฟัง ในความว่า 'พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมแต่ยังเล็ก' (๑/๒–๓).”
- ^ พงศ์ศรีเพียร, วินัย (2009) “เอกสารลำดับที่ ๑ จารึกพ่อขุนรามคำแหง”, in ๑๐๐ เอกสารสำคัญ: สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ ๑ (in Thai), Bangkok: ศักดิ์โสภาการพิมพ์, →ISBN, page 13: “เผือ หมายถึง พวกกูทั้งสอง (เฉพาะผู้พูด) ในที่นี้ เมื่อพ่อขุนรามคำแหงกล่าวว่า พี่เผือผู้อ้าย หมายถึง พี่คนโตของพวกกูทั้งสอง คือ พ่อขุนบานเมืองและพระองค์ท่านเอง.”