ยกบัตร

Hello, you have come here looking for the meaning of the word ยกบัตร. In DICTIOUS you will not only get to know all the dictionary meanings for the word ยกบัตร, but we will also tell you about its etymology, its characteristics and you will know how to say ยกบัตร in singular and plural. Everything you need to know about the word ยกบัตร you have here. The definition of the word ยกบัตร will help you to be more precise and correct when speaking or writing your texts. Knowing the definition ofยกบัตร, as well as those of other words, enriches your vocabulary and provides you with more and better linguistic resources.

Thai

Alternative forms

Alternative forms

Etymology

Possibly from Pali āyuttaka (representative; steward; trustee) + paṭa (cloth; scroll, roll, list, record; etc), or Sanskrit आयुक्त (āyukta, agent, deputy; minister; royally appointed officer; etc) + प्राप्त (prāpta, chartered; received; valid; etc).[1]

Pronunciation

Orthographicยกบัตร
y k ɓ ạ t r
Phonemic
ยก-กะ-บัด
y k – k a – ɓ ạ ɗ
RomanizationPaiboonyók-gà-bàt
Royal Instituteyok-ka-bat
(standard) IPA(key)/jok̚˦˥.ka˨˩.bat̚˨˩/(R)

Noun

ยกบัตร (yók-gà-bàt)

  1. (historical) public officer in กระทรวงวัง (grà-suuang-wang, Ministry of Palace Affairs), sent out by the central government to a locality to oversee the performance of the local ruler, especially in administrative and judicial affairs.[2]
  2. (historical) public officer responsible for recording or inspecting military affairs; public officer responsible for providing military supplies.
  3. (archaic) prosecuting attorney.

Synonyms

prosecuting attorney

Descendants

References

  1. ^ ราชบัณฑิตยสถาน (2010) กฎหมายตราสามดวง: พระทำนูน ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (in Thai), Bangkok: ราชบัณฑิตยสถาน, →ISBN, page 92:ผศ. ดร.จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา: ยุกระบัด อาจมาจากคำว่า อายุกฺต หมายถึง ผู้ปกครองแคว้นที่กษัตริย์แต่งตั้ง รวมกับคำว่า ปฎะ หมายถึง ตราตั้ง เมื่อรวมกันจึงหมายถึง ตราแต่งตั้งเจ้าหน้าที่.
  2. ^ ราชบัณฑิตยสถาน (2010) กฎหมายตราสามดวง: พระทำนูน ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (in Thai), Bangkok: ราชบัณฑิตยสถาน, →ISBN, pages 91–92:
    ยุกระบัด (สะกด ยุกระบัตร หรือ ยกกระบัตร หรือ ยกบัตร ก็มี) ตำแหน่งข้าราชการสังกัดกระทรวงวัง มีหน้าที่ออกไปประจำอยู่ตามหัวเมืองเพื่อสอดส่องอรรถคดี ตำแหน่งยกกระบัตรต้องแต่งตั้งจากบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่พระไอยการอาชญาหลวงกำหนด มีการกำหนดจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของยกกระบัตรไว้ในกฎหมายด้วย อำนาจหน้าที่สำคัญของยกกระบัตร เช่น ต้องร่วมรู้เห็นในราชการสำคัญของเจ้าเมือง สามารถไปเฝ้าพระเจ้าอยู่หัวเมื่อใดก็ได้ เจ้าเมืองไม่มีอำนาจห้ามปราม มีหน้าที่บันทึกความดี ความชอบ และ ความผิด และหน้าที่อื่น ๆ ในราชการสงคราม ตามที่กฎหมายบัญญัติ มีอำนาจหน้าที่ในการยุติธรรมหลายประการเกี่ยวกับอรรถคดี เช่น สอดส่องและเร่งรัดให้เจ้าเมืองชำระความต่าง ๆ ที่เป็นความเดือดร้อนของราษฎร หากการพิจารณาพิพากษาคดีของเจ้าเมืองหรือกรมการเมืองที่กระทำโดยมิชอบ ยกกระบัตรต้องทักท้วงห้ามปราม หากผู้ฝ่าฝืนไม่ฟัง ต้องกราบทูลพระเจ้าอยู่หัว ตรวจสอบการปรับไหมของเมืองคู่ปรับ. นายกฤษฎา บุณยสมิต: ซิมง เดอ ลาลูแบร์ (Simon de la Lubère) ราชทูตฝรั่งเศสซึ่งเดินทางมาเจริญสัมพันธไมตรีกับกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้บันทึกไว้ในจดหมายเหตุลาลูแบร์ว่า "ออกพระยกบัตร (Oc-Pra Jockebatest) เป็นทำนองอัยการแผ่นดิน และมีหน้าที่สอดแนมความเคลื่อนไหวของเจ้าเมืองเป็นที่ตั้ง ตำแหน่งนี้ไม่สืบทายาทถึงบุตร ในหลวงทรงแต่งตั้งจากบุคคลที่ทรงไว้วางพระราชหฤทัย...หากคำพิพากษานั้นมีอาการว่า ไม่เป็นไปตามยุติธรรมไซร้ ก็เป็นหน้าที่ของยกกระบัตรหรืออัยการแผ่นดินจะบอกกล่าวเตือนให้ศาลทราบไว้..." นอกจากนี้ ตามพระราชกำหนดเก่า ฉบับที่ ๒๒ ในหัวเมืองเอกไม่มีการแต่งตั้งตำแหน่งยกกระบัตร มีแต่หัวเมืองโท ตรี และจัตวาเท่านั้น.
  3. ^ ราชบัณฑิตยสถาน (2010) กฎหมายตราสามดวง: พระทำนูน ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (in Thai), Bangkok: ราชบัณฑิตยสถาน, →ISBN, page 92:ดร.ใกล้รุ่ง อามระดิษ: พจนานุกรมเขมร ฉบับพุทธศาสนบัณฑิตย์ อธิบายว่า คำ ยุกกฺบัตร หรือ โยกบัตฺร เป็นคำที่เขมรรับไปจากไทย หมายถึง ขุนนางผู้รับผิดชอบฝ่ายบัญชีและจดหมายเหตุต่าง ๆ เทียบได้กับปลัดกระทรวง ต่อมาภายหลัง เปลี่ยนเป็นตำแหน่งเลขาธิการ.